การจัดการความรู้

กฎหมาย อว.

กฎหมายการวิจัย นวัตกรรม และทรัพย์สินทางปัญญา

รู้จัก Holding Company นิติบุคคลเพื่อร่วมลงทุนของสถาบันอุดมศึกษาและสถาบันวิจัยของรัฐกับภาคเอกชน

กฎหมายคดีและวินัย

กฎหมายอุทธรณ์และร้องทุกข์

กฎหมายบุคคล

กฎหมายทรัพย์สิน (ก่อสร้าง)

หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างอาคาร

การจัดทำร่างขอบเขตของงานหรือรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุหรือแบบรูปรายการงานก่อสร้าง

กฎหมายการจัดซื้อจัดจ้าง

การซื้อหรือจ้าง
การบริหารพัสดุ

การมอบอำนาจดำเนินการ หรืออำนาจสั่งซื้อสั่งจ้าง

พัสดุที่รัฐต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุน

กฎหมายคดีทางปกครอง

สื่อความรู้ Motion graphic ตอนที่ 1 อำนาจหน้าที่ของศาลปกครอง
สื่อความรู้ Motion graphic ตอนที่ 2 ผู้มีสิทธิฟ้องคดีต่อศาลปกครอง

สื่อความรู้ Motion graphic ตอนที่ 3 ระยะเวลาการฟ้องคดี

สื่อความรู้ Motion graphic ตอนที่ 4 การเขียนคำฟ้อง

สื่อความรู้ Motion graphic ตอนที่ 5 การยื่นคำฟ้อง (youtube.com)

สื่อความรู้ Motion graphic ตอนที่ 6 การยื่นคำฟ้องทางอิเล็กทรอนิกส์

ตอนที่ 7 การแสวงหาข้อเท็จจริงในคดีปกครอง

ตอนที่ 8 การนั่งพิจารณาคดี

สื่อความรู้ Motion graphic ตอนที่ 9 การพิพากษาคดี

สื่อความรู้ Motion graphic ตอนที่ 10 การอุทธรณ์คำพิพากษาและการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในศาลปกครอง

กฎหมายคุณธรรมและความโปร่งใส (ITA)

ปัญหาการทุจริตคอร์รัปชัน ไม่ใช่เรื่องไกลตัว!!!
สื่อความรู้ Infographic : เกณฑ์การประเมิน ITA

มาตรา 127 แห่ง พ.ร.บ. ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561

มาตรา 128 แห่ง พ.ร.บ. ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561
กฏหมาย ป ป ช มาตรา 128 Thai

กฎหมายคดีอาญาทุจริตและประพฤติมิชอบ

วีดิทัศน์ศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบกลาง

มาตร

กฎหมายจริยธรรม

สรุปสาระสำคัญ การแนะนำกฏหมายพระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. ๒๕๖๒

การจัดทำประมวลจริยธรรมและข้อกำหนดจริยธรรม (Code of Ethics and Regulations)

กฎหมายด้านการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ความรู้เกี่ยวกับการไกล่เกลี่ยเบื้องต้น

กระบวนการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทภาคประชาชน ภายใต้พระราชบัญญัติการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท พ.ศ. 2562

กระบวนการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทภาคประชาชนภายใต้พระราชบัญญัติการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท พ.ศ. 2562 ถือว่าเป็นทางเลือกในวิธีการจัดการบริหารคดีอีกทางเลือกหนึ่งเพื่อเข้าสู่ระบบการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทก่อนฟ้องคดี  ทั้งนี้ การไกล่เกลี่ยนั้นต้องเป็นไปตามความสมัครใจของคู่กรณี คู่กรณีสามารถยื่นคำต่อศูนย์ไกล่เกลี่ยภาคประชาชน สำนักงานยุติธรรมจังหวัด หรือกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ หรือศาลได้ โดยแยกประเภทคดี ดังนี้

1. ข้อพิพาททางแพ่ง

1.1 ข้อพิพาททางแพ่งในกรณีต่อไปนี้ที่สามารถทำการไกล่เกลี่ยได้

(1.1.1) ข้อพิพาทเกี่ยวกับที่ดินที่มิใช่ข้อพิพาทเกี่ยวด้วยกรรมสิทธิ์

(1.1.2) ข้อพิพาทระหว่างทายาทเกี่ยวกับทรัพย์มรดก

(1.1.3) ข้อพิพาทอื่นตามที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกา

(1.1.4) ข้อพิพาทอื่นนอกจาก (1) (2) และ (3) ที่มีทุนทรัพย์ไม่เกินห้าล้านบาท

หรือไม่เกินจำนวนตามที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกา

1.2. ข้อพิพาททางแพ่งที่ไม่สามารถทำการไกล่เกลี่ยได้ ดังนี้

(1.2.1) ข้อพิพาทเกี่ยวด้วยสิทธิแห่งสภาพบุคคล

(1.2.2) ข้อพิพาทเกี่ยวด้วยสิทธิในครอบครัว

(1.2.3) ข้อพิพาทเกี่ยวด้วยกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์

2. ข้อพิพาททางอาญาที่สามารถทำการไกล่เกลี่ยได้

(2.1) ความผิดอาญาอันยอมความได้

(2.2) ความผิดลหุโทษตามมาตรา 390 มาตรา 391 มาตรา 392 มาตรา 393 มาตรา 394

มาตรา 395 และมาตรา 397 แห่งประมวลกฎหมายอาญา

(2.3) ความผิดลหุโทษอื่น ที่ไม่กระทบต่อส่วนรวม ตามที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกา

(2.4) การไกล่เกลี่ยข้อพิพาททางอาญาในชั้นสอบสวนนั้น นอกจากคดีความผิดตามข้อ 2 (2.1) (2.2) และ (2.3) แล้ว ยังสามารถไกล่เกลี่ยในคดีความผิดที่มีอัตราโทษจำคุกอย่างสูงไม่เกิน 3 ปี ตามบัญชีท้าย พระราชบัญญัตินี้ด้วย